ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมสำคัญแค่ไหน ทำไมโรงงานต้องใส่ใจ

ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ - korn007

ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ การทํางานของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

ทําหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคําสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจํา เพื่อเตรียมประมวลผล

ข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการนําข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีอยู่หลายประเภทด้วย

กันสําหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี ดังต่อไปนี้

- Keyboard

- Mouse

- Disk Drive

- Hard Drive

- CD-Rom

- Magnetic Tape

- Card Reader

- Scanner

2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)

ทําหน้าที่ในการคํานวณและประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ

- หน่วยควบคุม ทําหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลําดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทํางาน

ของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงานระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับ

อุปกรณ์นําเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจําสํารอง

- หน่วยคํานวณและตรรก ทําหน้าที่ในการคํานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจาก

หน่วยควบคุม และหน่วยความจํา 3. หน่วยความจํ า (Memory)

ทําหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผลและยัง

เก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็น

หน่วยความจํา เป็นหน่วยความจําที่มีอยู่ ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่ในการเก็บคําสั่ง

หรือข้อมูล แบ่งออกเป็น

- ROM หน่วยความจําแบบถาวร

- RAM หน่วยความจําแบบชั่วคราว

- หน่วยความจําสํารอง เป็นหน่วยความจําที่อยู่นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจําหลัก

สามารถเก็บ ข้อมูลได้มากขึ้น 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)

ทําหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคํานวณและประมวลผล สําหรับอุปกรณ์ที่ ทําหน้าที่

ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้นั้นมีต่อไปนี้

- Monitor จอภาพ

- Printer เครื่องพิมพ.

- Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพตามที่เราต้องการนั้น จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทำงานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

หมาย ถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน

ซอฟต์แวร์ (Software)

หมาย ถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำ งาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อง คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ ดังนี้

• ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

• ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

- ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัว พัฒนา

- ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียน โปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น บุคลากร (People ware)

หมาย ถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

• นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

• โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของ ผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

• ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่องจาก เป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (People ware) ทั้งสิ้น ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)

ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง การทำงานของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่การนำข้อมูลเข้าจนกลาย เป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่า สารสนเทศ (Information) ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจจะเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น

ข้อมูลที่จะนำมาใช้ กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะให้คอมพิวเตอร์เข้าใจก่อน จึงจะสามารถเอามาใช้งานในการประมวลผลต่างๆ ได้เราเรียกสถานะนี้ว่า สถานะแบบดิจิตอล ซึ่งมี 2 สถานะเท่านั้น คือ เปิด(1) และ ปิด(0) คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ประเภทของคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆแผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด เป็นอุปกรณ์ที่บรรจุอยู่ในเคส (Case) เปรียบเสมือนศูนย์กลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผล หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำรอง และหน่วยส่งออกต้องถูกนำมาเชื่อมต่อกับแผงวงจรหลักจึงจะทำงานได้ บัส (bus) หมายถึง ช่อง ทางการสื่อสารขนถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลางไปยังอุปกรณ์อื่นๆ เช่น หน่วยความจำหลัก อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ บัสเปรียบเสมือนช่องทางจราจร

1. บัสข้อมูล (data bus) เป็นเส้นทางผ่านและควบคุมการส่งถ่ายข้อมูลจากหน่วยประมวลผลกลาง ไปยังอุปกรณ์ภายนอกหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอก เพื่อทำการประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง 2. บัสรองรับข้อมูล (address bus) เป็นบัสที่หน่วยประมวลผลกลาง เลือกว่าจะส่งข้อมูลหรือรับข้อมูลจากอุปกรณ์ไหนไปที่ใด และต้องส่งสัญญาณเลือกออกมาทางบัสรองรับข้อมูลนี้

3. บัสควบคุม (control bus) เป็นบัสที่รับสัญญาณการควบคุมการควบคุมจากหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อบังคับว่าจะอ่านข้อมูลเข้ามา หรือจะส่งข้อมูลออกไปจากหน่วยประมวลผลกลาง ระบบบัส ทาง กายภาพ คือ สายทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผงวงจรหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ ความกว้างของบัสจะนับขนาดข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่วยเป็น บิต (bit) เช่น บัสขนาด 8 บิต บัสขนาด 16 บิต บัสขนาด 32 บิตระบบบัสบนแผงวงจรหลักถูกแบ่งเป็นดังนี้ 1. ระบบบัสแบบ พีซีไอ (PCI ) เป็นบัสแบบ 32 บิต มีความเร็วในการติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆที่ความเร็ว 33 MHz ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูล 133 เมกะไบต์ต่อวินาที ใช้กับ การ์ดเสียง โมเด็ม และการ์ดแลน คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (super computer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงสุดมีขนาดใหญ่และราคาแพงกว่า คอมพิวเตอร์ชนิดอี่นออกแบบมาเพื่อใช้แก่ปํญหาทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรม ศาสตร์ เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นระยะเวลาหลายวัน 2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะหลักการทำงานสูงมีความเร็วสูง เฟนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้ได้หลายร้อยคน คอมพิวเตอร์ชนิดนี้มักใช้ในองค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร 3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับองค์กรขนาดกลางที่ใช้บริการแก่เครื่องลูกข่าย เช่น โรงแรม 5.คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (handheld computer)สามารถ จัดการกับข้อมูลประจำวันได้ สร้างปฏิทิน บันทึกเตือนความจำ เล่นเกม ชมภาพยนตร์ ฟังเพลง และรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ เป็นคอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีอีเอ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้ 1.แผงพิมพ์อักขระ เป็น อุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการกดแป้นจากนั้นก็เปลี่ยนรหัสแล้วส่งไปยังประมวลผล กลาง แป้นพิมพ์โดยทั่วไปมี 50 แป้นขึ้นไปแบ่งเป็นแป้นตัวเลขและแป้นอักขระ 2.เมาส์ เป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่ได้รับข้อมูลจากการกดปุ่มข้างบนเมาส์ ทำหน้าที่คลิกปุ่มคำสั่งที่ต้องการ แบ่งเป็น 2 ประเภท 3.อุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถติดกับตัวโน๊ตบุ๊ค สะดวกในการพกพา ซึ่งมี 3ประเภท 5.จอสัมผัส เป็น อุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการสัมผัสโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะ แปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ 1. เครื่องอ่านรหัสแท่ง อุปกรณ์รับเข้าที่ทำงานโดยหลักการสะท้อนแสง เครื่องจะส่องลำเสียงไปยังรหัสบนสินค้าจากนั้นจะเปลี่ยนรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้า ผ่านสายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ 2. เครื่อง กราดตรวจหรือสแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทรูปภาพและข้อความที่อยู่บนสิ่งพิมพ์โดยใช้หลัก สะท้อนแสง ข้อมูลจะถูกแปลงในแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและเก็บไว้ในหน่วยความจำ 1.จอ ภาพแบบซีอาร์ที มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์ ทำงานโดยเทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน โดยยิงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในจอเมื่อลำแสงวิ่งมาชนจะเกิดแสงสว่างขึ้น 2.จอ ภาพแบบแอลซีดี ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนแสงตามการควบคุมทิศทางของพาราไลเซชั่นของวัตถุที่ กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง ป้องแรงดันเข้าไปยังแผ่นเพลตเมื่อได้รับแรงดันไฟฟ้า มีผลให้แสดงจากแหล่งกำเนิดสามารถผ่านทะลุกระทบกับสารเรืองแสงจนเกิดแสงสีที่ ต้องการ 9. ลำโพง เป็น อุปกรณ์ที่แสดงผลเป็นเสียงโดยใช้งานคู่กับการด์เสียงซึ่งเป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นอะนาล็อกแล้วส่งไปยังลำโฟง 10.หูฟัง เป็น อุปกรณ์ส่งออกใช้ฟังเพลงจากคอม ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณจากไฟฟ้าเป็นเสียง มีทั้งชนิดไร้สายและมีสายบางรุ่นก็จะมีไมโครโฟนสำหรับสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต 12. โมเด็ม เป็น การแปลงสัญญาณเพื่อให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้โดยเชื่อมต่อคอม เข้ากับคู่สายโทรศัพท์ แล้วโมเด็มจะแปลงจากสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอะนาล็อก เครื่อง พิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการแปลผลลัพธ์ ที่ได้จาก การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร ์ให้อยู่ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ นับเป็นอุปกรณ์แสดลงผลที่นิยมใช้ เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท เครื่อง พิมพ์ดอตแมทริกซ์เป็นเครื่องพิมพ์ที่นนิยมใช้งานกันแพร่หลายมากที่สุด เนื่องจากราคา และคุณภาพการพิมพ์อยู่ในระดับที่เหมาะสม การทำงานของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ใช้หลักการสร้างจุด ลงบน กระดาษโดยตรง หัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ มีลักษณะเป็นหัวเข็ม (pin) เมื่อต้องการพิมพ์สิ่งใดลงบนกระดาษ หัวเข็มที่อยู่ในตำแหน่งที่ประกอบกันเป็น ข้อมูลดังกล่าวจะยื่นลำหน้าหัวเข็มอื่น เพื่อไปกระแทกผ่านผ้าหมึก ลงบนกระดาษ ก็จะทำให้เกิดจุดขึ้น การพิมพ์แบบนี้จะมีเสียงดัง พอสมควร ความคมชัดของข้อมูลบน กระดาษขึ้นอยู่กับจำนวนจุด ถ้าจำนวนจุดยิ่งมากข้อมูลที่พิมพ์ลงบนกระดาษก็ยิ่งคมชัดมากขึ้น ความเร็ว ของเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์อยู่ระหว่าง 200 ถึง 300 ตัวอักษรต่อวินาที หรือประมาณ 1 ถึง 3 หน้าต่อนาที เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เหมาะสำหรับงานที่พิมพ์แบบฟอร์มที่ต้องการซ้อนแผ่นก๊อปปี้ หลาย ๆ ชั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ ใช้กระดาษต่อเนื่องในการพิมพ์ ซึ่งกระดษาประเภทนี้จะมีรูข้างกระดาษทั้งสองเอาให้ หนามเตยของเครื่องพิมพ์เลื่อนกระดาษ เครื่อง พิมพ์พ่นหมึก เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีคุณภาพการพิมพ์ที่ดีกว่าเครื่องพิมพ์แบบดอตแมทริกซ์ โดยสามารถพิมพ์ตัวอักษรที่มีรูปแบบ และขนาดที่แตกต่งกันมาก ๆ รวมไปถึง พิมพ์งานกราฟิกที่ให้ผลลัพธ์ คมชัดว่าเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เทคโนโลยีที่เครื่องพิมพ์พ่นหมึก ใช้ในการพิมพ์ก็คือ การพ่นหมึกหยดเล็ก ๆ ไปที่กระดาษ หยดหมึกจะมีขนาดเล็กมาก แต่ละจุดจะอยู่ในตำแหน่งที่เมื่อประกอบกันแล้ว เป็นตัวอักษร หรือรูปภาพ ตามความต้องการ เครื่องพิมพ์พ่นหมึกมีความเร็วในการพิมพ์ มากว่าแบบดอตแมทริกซ์ มีหน่วยวัดความเร็วเป็นในการ พิมพ์เป็น PPM (Page Per Minute) ซึ่งเร็วกว่าเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์มาก อย่างไรก็ตามถ้าเป็นการพิมพ์ กราฟิกหรือตัวอักษรที่มีรูปแบบในเวลาเดียวกัน เครื่องพิมพ์พ่นหมึกจะทำงานได้ช้าลง กระดาษที่ใช้กับเครื่อง พิมพ์พ่นหมึกจะเป็นขนาด 8.5 X 11 นิ้ว หรือ A4 ซึ่งสามารถพิมพ์ได้ ทั้งแนวตั้งที่เรียกว่า “พอร์ทเทรต” (Portrait) และแนวนอนที่เรียกว่า “แลนด์สเคป” (Landscape) โดยกระดาษจะถูกวางเรียงซ้อนกัน อยู่ในถาด และถูกป้อน เข้าไปในเครื่องพิมพ์ที่ละแผ่นเหมือนเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่อง พิมพ์เลเซอร์ เป็นเครื่องที่มีคุณสมบัติเหมือนกับเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก แต่สามารถทำงาน ได้เร็วกว่า โดยเครื่องพิพม์เลเซอร์ สามารถพิมพ์ตัวอักษรได้ทุกรูปแบบและทุกขนาดรวมทั้งสามารถพิมพ์งาน กราฟิกที่คมชัดได้ด้วย เครื่องเลเซอร์ใช้เทคโนโลยี เดียวกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือยิงเลเซอร์ไปสร้างภาพบน กระดาษในการสร้างรูปภาพ หรือตัวอักษรบนกระดาษ หน่วย วัดความเร็วของเครื่องพิมพ์เลเซอร์จะเป็น PPM เช่นเดียวกับ เครื่องพิมพ์พ่นหมึกในปัจจุบัน ความสามารถ ในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์เลเซอร์คุณภาพสูง สามารถพิมพ์ได้หลายร้อยหน้าต่อนาที ซึ่งเหมาะ กับงานในองค์กรขนาดใหญ่ จะนำไปใช้งานในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ส่วนคุณภาพงานพิมพ์ของเครื่องจะวัด ด้วยความละเอียดในการสร้างจุดลงในกระดาษ ขนาด 1 ตารางนิ้ว เช่นความละเอียดที่ 300 dpi หรือ 600 dpi หรือ 1200 dpi เครื่องพิมพ์เลเซอร์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ก็จะมีทั้งเครื่องพิมพ์เลเซอร์แบบ ขวา-ดำ และเครื่องพิมพ์ เลเซอร์แบบสี ซึ่งเครื่องพิมพ์เลเซอร์แบบสีจะมีราคาแพงมาก แต่งานพิมพ์ที่ได้ออกมาก็มีคุณภาพสูง พล็อต เตอร์ เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนกระดาษเหมาะสำหรับงาน เกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม (เขียนลงบนกระดาษไข) และงานตกแต่งภายใน สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก พล็อต เตอร์ทำงานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการทำงานของ พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Secon : IPS) ซึ่งหมายถึงจำนวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ สแกนเนอร์ (Scanner) คืออุปกรณ์ซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของ อนาล็อกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษาและผลิต ออกมาได้ ภาพนั่นอาจจะเป็น รูปถ่าย ข้อความ ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ สามารถใช้สแกนเนอร์ทำงานต่างๆ ได้ดังนี้

• ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถ่ายในเอกสาร

• เพิ่มเติมภาพและจินตนาการต่าง ๆ ลงในในผลิตภัณฑ์สื่อโฆษณาต่าง ๆ โดยพื้นฐานการทำงานของสแกนเนอร์ ชนิดของสแกนเนอร์ และความ สามารถในการทำงาน ของสแกนเนอร์แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้ 1. Flatbed scanners ซึ่งใช้สแกนภาพถ่ายหรือภาพพิมพ์ต่าง ๆ สแกนเนอร์ชนิดนี้มีพื้นผิวแก้วบนโลหะที่เป็นตัวสแกน เช่น ScanMader III 2. Transparency and slide scanners ScanMaker ซึ่งถูกใช้ สแกนโลหะโปร่ง เช่นฟิล์มและสไลด์ ตัวอย่างของสแกนเนอร์ชนิดนี้ เช่น ScanMaker 35t ที่ใช้สแกนเนอร์ 35 mm และ ScanMake 45t ใช้สแกนเนอร์ ฟิล์มขนาด 8″x10″การทำงานของสแกนเนอร์ การจับภาพ ของสแกนเนอร์ ทำโดย ฉายแสงบนเอกสารที่จะสแกน แสงจะผ่านกลับไปมาและภาพจะถูกจับโดยเซลล์ ที่ไว ต่อแสง เรียกว่า Charge-couple device หรือ CCD ซึ่งโดยปกติพื้นที่มืดบน กระดาษจะสะท้อนแสง ได้น้อยและพื้นที่ที่สว่างบนกระดาษจะสะท้อนแสง ได้มาก กว่า CCD จะสืบหาปริมาณแสงที่สะท้อนกลับจากแต่ละพื้นที่ของภาพนั้น และ เปลี่ยนคลื่นของแสง ที่สะท้อนกลับมาเป็นข้อมูลดิจิตอลหลังจากนั้นซอฟต์แวร์ ที่ใช้สำหรับการสแกนภาพก็จะแปลงสัญญาณเหล่านั่นกลับมาเป็นภาพบนคอมพิวเตอร์ อีกทีหนึ่ง

• SCSI และสาย SCSI หรือ Parallel Port สำหรับต่อจากสแกนเนอร์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์

• ซอฟต์แวร์สำหรับการสแกนภาพซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของสแกนเนอร์ให้สแกนภาพตามที่กำหนด

• สแกนเอกสารเก็บไว้เป็นไฟล์ที่นำมาแก้ไขได้อาจต้องมีซอฟแวร์ที่สนับ สนุนด้าน OCR

• จอภาพที่เหมาะสมสำหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร์

• เครื่องมือสำหรับแสดงพิมพ์ภาพที่สแกน เช่น เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ หรือสไลด์โปรเจคเตอร์ - ภาพ Single Bit เป็นภาพที่มีความพยาบมากที่สุดใช้พื้นทีในการเก็บข้อมูลน้อยที่สุด และนำมาใช้ประโยชน์อะไรไม่ค่อยได้ แต่ข้อดีของภาพประเภทนี้คือ ใช้ทรัพยากร จองเครื่องน้อยที่สุดใช้พื้นที ในการเก็บข้อมูลน้อยที่สุด ใช้ระยะเวลาในการสแกน ภาพน้อยที่สุด Single Bit แบ่งออกได้สองประเภทคือ – Line Art ได้แก่ภาพที่มีประกอบเป็นภาพขาวดำตัวอย่างของภาพ พวกนี้ได้แก่ ภาพจากการสเก็ต Halfone ภาพพวกนี้จะให้เป็นสีโทนสีเทามากกว่า แต่โดยทั่วไปยังถูกจัดว่าเป็นภาพประเภท Single Bit เนื่องจากเป็นภาพหยาบ ๆ - ภาพ Gray Scale ภาพพวกนี้จะมีส่วนประกอบมากกว่าภาพขาวดำ โดยจะประกอบด้วยเฉด สีเทาเป็นลำดับขั้น ทำให้เห็นรายละเอียดด้านแสง-เงา ความชัดลึก มากขึ้นกว่าเดิม ภาพพวกนี้แต่ละพิกเซลหรือแต่ละจุดของภาพอาจประกอบ ด้วยจำนวนบิตมากกว่า ต้องการพื้นที่เก็บข้อมูลมากขึ้น - ภาพสี หนึ่งพิกเซลของภาพสีนั้นประกอบด้วย จำนวนบิตมหาศาล และใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมากความ สามารถ ในการสแกนภาพออกมาได้ละเอียดขนาด ไหนนั้น ขึ้นอยู่กับสแกนเนอร์มีขนาดความละเอียด เท่าไร เป็น อุปกรณ์สำหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภาย นอกได้อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สำหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบ คอมพิวเตอร์ของเราสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถ ทำงานของเราสามารสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทำงาน ของคุณให้สำเร็จได้ก็ด้วย การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคุ่สายของ โทรศัพท์ธรรมดาคู่หนึ่งซึ่งโมเด็ม จะทำการแปลงสัญญาณ ดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณ อนาล๊อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์ คำ ว่า โมเด็ม (Modem) มาจากคำว่า (modulate/demodulate) ผสมกัน หมายถึง กระบวนการแปลงข้อมูลข่าวสารดิจิตอลให้อยู่ในรูปของอนาล๊อกแล้วจึง สัญญาณกลับไปเป็นดิจิตอลอีกครั้งหนึ่งเมื่อโมเด็มของเราต่อเข้ากับโมเด็มตัว อื่น

• ใช้บริการต่างๆ จากที่บ้าน เช่นสั่งซื้อของผ่านอินเตอร์เน็ต 1. ความเร็วในการรับ – ส่งสัญญาณ ความเร็วในการรับ-ส่งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (rate) ที่โมเด็ม สามารถทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม อื่นๆ มีหน่วยเป็นบิต /วินาที (bps) หรือ กิโลบิต/ วินาที (kbps) ในการบอกถึง ความเร็วขอโมเด็มเพื่อให้ง่ายในการ พูดและจดจำ

2. ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล ข้อมูลข่าวสารที่ส่งออกไปบนโมเด็มนั้น สามารทำให้มีขนาดกะทัดรัด ด้วย วิธีการบีบอัดข้อมูล (compression) ทำให้สามารถส่งข้อมูลได้ครั้งละเป็นจำนวน มากๆ

3. ความสามารถในการใช้เป็นโทรสาร โมเด็มรุ่นใหม่ ๆ สามารถส่งและรับโทรสาร(Fax capabilities) ได้ดีเช่น เดียวกับ การรับ ส่งข้อมูล หากคุณมีซอฟแวร์ที่เหมาะสมแล้วคุณสามารถใช้ แฟคซ์ โมเด็มเป็นเครื่องพิมพ์ (printer) ได้เมื่อเราพิมพ์เข้าไปที่แฟคซ์โมเด็มมันจะส่งเอกสาร ของเราไปยังเครื่องโทรสารที่ปลายทางได้

4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใช้วิธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ต่าง ๆ มากมาย หลายวิธีในการตรวจสอบเพื่อการยืนยันว่า จะไม่ข้อมูลใด ๆสูญหายไประหว่างการส่ง ถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง

5. ออกแบบให้ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก โมเด็มที่จำหน่ายในท้องตลาดทั่ว ๆ ไปจะมี 2 รูปแบบ คือ โมเด็มแบบติด ตั้งภายนอก (external modems) และแบบติดตั้งภายใน (internal modems)

6.ใช้เป็นโทรศัพท์ได้ โมเด็มบางรุ่นมีการใส่วงจรโทรศัพท์ธรรมดาเข้าไปพร้อมกับความสามารถ 1. ความเร็วในการรับ – ส่งสัญญาณ ความเร็วในการรับ-ส่งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (rate) ที่โมเด็ม สามารถทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม อื่นๆ มีหน่วยเป็นบิต /วินาที (bps) หรือ กิโลบิต/ วินาที (kbps) ในการบอกถึง ความเร็วขอโมเด็มเพื่อให้ง่ายในการ พูดและจดจำ2. ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล ข้อมูลข่าวสารที่ส่งออกไปบนโมเด็มนั้น สามารทำให้มีขนาดกะทัดรัด ด้วย วิธีการบีบอัดข้อมูล (compression) ทำให้สามารถส่งข้อมูลได้ครั้งละเป็นจำนวน มากๆ3. ความสามารถในการใช้เป็นโทรสาร โมเด็มรุ่นใหม่ ๆ สามารถส่งและรับโทรสาร(Fax capabilities) ได้ดีเช่น เดียวกับ การรับ ส่งข้อมูล หากคุณมีซอฟแวร์ที่เหมาะสมแล้วคุณสามารถใช้ แฟคซ์ โมเด็มเป็นเครื่องพิมพ์ (printer) ได้เมื่อเราพิมพ์เข้าไปที่แฟคซ์โมเด็มมันจะส่งเอกสาร ของเราไปยังเครื่องโทรสารที่ปลายทางได้4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใช้วิธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ต่าง ๆ มากมาย หลายวิธีในการตรวจสอบเพื่อการยืนยันว่า จะไม่ข้อมูลใด ๆสูญหายไประหว่างการส่ง ถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง5. ออกแบบให้ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก โมเด็มที่จำหน่ายในท้องตลาดทั่ว ๆ ไปจะมี 2 รูปแบบ คือ โมเด็มแบบติด ตั้งภายนอก (external modems) และแบบติดตั้งภายใน (internal modems)6.ใช้เป็นโทรศัพท์ได้ โมเด็มบางรุ่นมีการใส่วงจรโทรศัพท์ธรรมดาเข้าไปพร้อมกับความสามารถ

บอร์ดควบคุม บอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ Serial Control Boards รุ่น SC-400

บอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ รุ่น SC-400 ประกอบด้วยสวิตซ์ 4 ช่องที่สามารถควบคุมผ่าน Serial Port หรือ RS-232 ของคอมพิวเตอร์ได้

บอร์ควบคุมรุ่นนี้ประกอบได้ง่ายจึงเหมาะที่จะใช้เป็นด่านแรกในการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องการสั่งงานสวิตซ์ผ่านคอมพิวเตอร์

มีระบบควบคุมการทำงานโดยใช้คำสั่งSSC (Simple String Command) ช่วยให้การสั่งงานรีเลย์ของแต่ละช่องทำได้ง่ายขึ้น ยกตัวอย่างเช่น

การส่งอักษร "@1N1" ตามด้วยสัญลักษณ์ Return จะทำให้ช่องที่ 1 เปิด เป็นต้น

Diagramบอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์

ขั้นตอนการทำงานและการต่อใช้งานของบอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ BSC003

1.ต่อวงจรการใช้งานตามรูป Diagarms ให้ครบก่อน

2.ติดตั้งและเรียกโปรแกรมที่มากับซีดี โดยทำตาม

ขั้นตอนที่โปรแกรมติดตั้งแนะนำ

3.ต่อสาย Serial 9 โดยด้านหนึ่งเข้าพอร์ดอนุกรมของคอมพิวเตอร์

และอีกด้านหนึ่งเข้าที่บอร์ดจากนั้น จึงต่อแหล่งจ่ายไฟเข้า

4.เริ่มทดสอบการใช้งานเช่นการปิด-เปิดช่องต่างๆหรือ

คำสั่งโดยตรงในโปรแกรมได้ทันที

การใช้งานควรศึกษาจากคู่มืออย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง

การใช้งานของ BSC003 ทำหน้าที่เป็นตัวคอนโทรล

การเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าได้หลากหลาย เช่น หลอดไฟ โคมไฟ โซลินอย เป็นต้น

นี้เป็นเพียงส่วนหนี่งของวงจรการทำงานที่ทำให้

คนอ่านได้เข้าใจถึงหลักการทำงานของ BSC003 การ

เลือกใช้งานของ BSC003 สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับ

งานได้มากมายหลายประเภท หลากหลายงานขึ้น กับ

เงื่อนไขที่เราจะกำหนดมันให้มาเข้ากับการนำมาประยุคต์

ใช้ให้เข้ากับตัวBSC003 นะครับ

คุณสมบัติและการประยุกต์การใช้งานของบอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ รุ่น SC-400

-บอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ รุ่น SC-400 มีรีเลย์เอาต์พุตจำนวน 4 ช่อง

-บอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ รุ่น SC-400 มีฟังก์ชั่นพิเศษคือสามารถตั้งรหัสประจำบอร์ดผ่านทางซอฟต์แวร์ที่มากับชุด หรือผ่าน Hyper Terminal ที่มากับวินโดส์

-ผู้ใช้สามารถทำการตรวจสอบสถานะทุกช่องพร้อมกันได้

-สามารถนำบอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับระบบการเตือนภัยได้ โดยต่อสัญญาณจากเซ็นเซอร์ต่างๆเช่น ตัวตรวจจับควัน สวิชท์แม่เหล็ก ตัวตรวจจับการทุบกระจก หรือเซนเซอร์ชนิดอื่นๆ เข้าทางอินพุตของบอร์ดควบคุม และส่งรีเลย์เอาต์พุตไปเปิดไซเรน

-บอร์ด รุ่น SC-400 สามารถนำไปต่อกับคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server ) ที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ เพื่อสั่งการให้อุปกรณ์ปิด-เปิด ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

-สามารถน้ำไปประยุกต์ใช้งานเกี่ยวกับระบบการควบคุมการรดน้ำสนามหญ้าได้โดยใช้บอร์ดในการควบคุมการปิดเปิดวาล์วไฟฟ้าตามวันและเวลากำหนด

-บอร์ด รุ่น SC-400 รุ่นนี้สามารถปิดเปิดทีละช่อง ทุกช่องพร้อมกัน หรืออาจจะสลับสถานะปิดเปิดก็ได้

คุณลักษณะเฉพาะของ บอร์ดควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ รุ่น SC-400

จำนวนรีเลย์เอาพุต :4 ช่อง

หน้าสัมผัสรีเลย์ :7 A 250 VAC

การเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ : ผ่านพอร์ตอนุกรม (COM/RS-232)

คำสั่งที่ใช้ในการสื่อสาร :SSC (Simple String Command)

แหล่งจ่ายไฟ:12 VDC 140 mA

ขนาด (กว้าง x ยาว):7.6 cm x 8.9 cm (3.0" x 3.5")

**ใน 1 ชุดจะประกอบไปด้วย บอร์ด และซอฟต์แวร์ CD ตัวอย่างการเขียนโปรแกม เอกสารอธิบายคำสั่ง และโปรโตคอลการสื่อสาร

หมายเหตุ อุปกรณ์เสริมประกอบการใช้งาน : สาย Serial DB9 ปลาย ผู้-เมีย และอะแด็ปเตอร์ไฟตรงขนาด 12V ที่จ่ายกระแสได้ตามที่ระบุในคุณลักษณะ ด้านบน

****ราคารวม VAT แล้ว

*****รับประกันสินค้า 7 วัน

ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมสำคัญแค่ไหน ทำไมโรงงานต้องใส่ใจ

ประสิทธิภาพการผลิต ไม่ได้ขึ้นอยู่กับพลังของเครื่องจักรเพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่กับการควบคุมที่มีคุณภาพด้วย การใช้งาน ระบบควบคุมในอุตสาหกรรม (Industrial Control Systems: ICS) ที่เชื่อถือได้จึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้การทำงานในอุตสาหกรรมก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปอีก

โดยเฉพาะในปัจจุบันปัจจุบันเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นก็ทำให้ระบบดังกล่าวเปลี่ยนไปอย่างน่าตกใจ ระบบควบคุมดังกล่าวมีการทำงานแบบไหนบ้างและสำคัญขนาดไหน บทความนี้มีคำตอบ

ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ปัจจัยที่ขาดไม่ได้ในการผลิต

ประโยคดังกล่าวคงเป็นการอธิบายความสำคัญของระบบควบคุมในอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี และระบบดังกล่าวก็ยิ่งทวีความจำเป็นมากขึ้นไปอีก เมื่อการทำงานในอุตสาหกรรมมีความซับซ้อนมากขึ้น และมีการเชื่อมต่อกับส่วนต่างๆ ของบริษัทและโรงงานมากขึ้น เช่น การผลิตที่ต้องสื่อสารกับฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายขาย เพื่อทำให้ตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างทันท่วงที

เหตุผลนั้นทำให้การพัฒนาเครื่องจักรในการผลิต ต้องมาคู่กับระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพ ใช้งานง่าย คุ้มค่า มีความปลอดภัยสูง ภาพของแผงควบคุมขนาดใหญ่อันแสนยุ่งยากเริ่มหายไป กลายเป็นจอมอนิเตอร์เพื่อตรวจสอบและการป้อนคำสั่งง่ายๆ แทน

ฝ่ายผู้ใช้งานจึงต้องมีการศึกษาการทำงานของระบบควบคุมแบบต่างๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อการวางแผนการผลิตในโรงงานได้อย่างเหมาะสม ติดตั้งระบบที่เข้ากับโรงงานของตัวเอง เพื่อการทำงานที่ดีที่สุด

การควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งพัฒนามาตั้งแต่ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 17 แน่นอนว่าบางอย่างนั้นหายไปตามกาลเวลา และบางอย่างก็มีการใช้มาอย่างต่อเนื่อง โดยระบบที่เรามักพอได้ในโรงงานต่างๆ นั้นมีดังนี้

PLCs คือการควบคุมการทำงานของเครื่องจักรโดยมี Microprocessor เป็นตัวประมวลผลและสั่งการ อุปกรณ์ PLC นั้นทำงานคล้ายกับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กโดยมนุษย์เป็นผู้ตั้งค่าโปรแกรมเพื่อใช้งานต่างๆ เช่น Input/Output Contro, Logic, Timing รวมถึงการประมวลผลแบบละเอียด

PLC ในปัจจุบันสามารถทำงานร่วมกับเครื่องจักรได้หลากหลายทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ รวมถึงสามารถเชื่อมต่อกันหลายตัวเพื่อเป็น PLC Network ได้อีกด้วย ส่งผลให้ระบบนี้ได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน

Programmable Automation Controllers เป็นระบบควบคุมในโรงงานที่ถูกต่อยอดมาจาก PLC โดยรวมคุณสมบัติต่างๆ ของคอมพิวเตอร์เข้ามาไว้ในการควบคุมมากขึ้น เช่น รองรับการทำงานหลายรูปแบบ สามารถทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าเดิมได้ และสามารถรองรับอุปกรณ์ที่หลากหลาย รวมถึงมีความรวดเร็วมากกว่า PLC

PAC นั้นถูกใช้งานในกระบวนการผลิตที่ต้องอาศัยความแม่นยำและความเสถียรสูง เช่น โรงงานไฟฟ้า จากคุณสมบัติอันโดดเด่นของตัวมันเอง

ระบบ DCS หรือระบบควบคุมแบบกระจาย เป็นระบบสำหรับควบคุมและดูแลเครื่องจักรที่ใช้กันในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยมีใช้งานตัวประมวลผลข้อมูลมากกว่า 1 ตัว แยกไปในแต่ละกระบวนการทำงาน สามารถทำงานได้ทั้งการควบคุมการผลิต ตรวจสอบกระบวนการผลิต และมีการเก็บข้อมูลแยกเพื่อให้สามารถตรวจสอบสิ่งที่เกิดขึ้นในภายหลังได้อีกด้วย

DCS เป็นระบบที่มีราคาค่อนข้างสูง จึงมักพอได้ตามโรงงานใหญ่ จนถึงระบบการทำงานของแท่นขุดเจาะปิโตรเลียม

SCADA คือระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ คล้ายกับระบบ DCS เพียงแต่ว่าจะมีการใช้การควบคุมระยะไกลมากกว่า และยังทำงานร่วมกับระบบอื่นๆ เช่น PLC DCS และ RTU ได้อีกด้วย

ดังที่กล่าวว่า SCADA สามารถใช้ดูแลระบบโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การควบคุมรูปแบบนี้จึงมักพบได้ใน เช่น อุตสาหกรรมเคมี การประกอบรถยนต์ โรงไฟฟ้า เป็นต้น

IED หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ เป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับระบบการผลิตสำหรับตรวจสอบและควบคุมในโรงงาน โดยมีการทำงานคล้ายกับระบบ Circuit Control เพียงแต่ว่าสามารถทำงานได้ละเอียดยิ่งกว่าด้วยอุปกรณ์ Microprocessor

นอกจาก IED สามารถใช้ในการมอนิเตอร์และควบคุมแล้ว ยังสามารถใช้ในการสื่อสารภายในโรงงาน ใช้ร่วมกับระบบอีเทอร์เน็ตและโปรโตคอลของโรงงานอื่นๆ ได้อีกด้วย

รายชื่อด้านบนเป็นเพียงตัวอย่างหนึ่งของระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมเท่านั้น แม้จะสามารถแบ่งแยกออกไปได้หลายชนิด แต่เราก็ยังสามารถเห็นการทำงานร่วมกันของระบบต่างๆ ได้อยู่เสมอๆ ตามแต่การจัดการของโรงงานนั้นๆ หากต้องการติดตั้งระบบหรืออัปเกรดระบบใหม่ ควรติดต่อกับผู้เชี่ยวชาญของโรงงาน เพื่อความเข้าใจในภาพรวมของระบบที่ถูกต้องครบถ้วนมากขึ้น

2021 อาจเป็นปีที่ระบบทั้งหมดที่เราได้เห็นกันได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่อีกครั้ง ด้วยการประยุกต์ใช้ Automation เข้าสู่การทำงาน พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงการควบคุมในโรงงานให้เข้าถึงง่ายมากขึ้น ซึ่งอาจทำให้ระบบบางอย่างที่เราเคยทำงานด้วยหายไป

แน่นอนว่าเรายังคงต้องใช้การทำงานของ PLC หรือ SCADA ไปอีกพักใหญ่ๆ แต่มันอาจจะถูกผูกเข้ากับระบบที่ใหญ่ยิ่งกว่า ละเอียดยิ่งกว่า เช่นการทำงานเชื่อมต่อกับ Web Services, Email, Mobile การสั่งการด้วยเสียงผ่านอุปกรณ์พิเศษ จนถึงการเชื่อมต่อเข้ากับระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) เพื่อการทำงานที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

สิ่งสำคัญที่สุดของเรื่องนี้คือ มนุษย์เราอาจไม่ใช่แกนหลักของกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมอีกต่อไป แต่จะเป็นระบบ AI ที่คอยเข้ามาสั่งการผ่านอุปกรณ์ต่างๆ แทน

ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมเปรียบเสมือนสมองของโรงงานที่คอยสั่งการเครื่องจักรต่างๆ เพื่อให้สามารถดำเนินงานต่อไปได้ ซึ่งในปัจจุบันมันไม่ใช่การควบคุมที่ยุ่งยากอีกต่อไปแล้ว ระบบต่างๆ ถูกทำให้มีการใช้งานง่ายมากขึ้น มีความเป็นอัตโนมัติมากขึ้น รวมถึงสามารถควบคุมจากที่ไหนก็ได้ และคาดว่าในปี 2021 ก็อาจเป็นอีกปีที่ระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดดได้อีกแน่นอนด้วยการประยุกต์ใช้ AI และ Automation ที่ดียิ่งขึ้น

ถ้าคุณมีข้อสงสัยเกี่ยวกับระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรมหรือต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความนี้ คุณสามารถสอบถามได้ที่นี่ ด้วยบริการให้คำปรึกษาจากทีมงานผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค เครื่องมือ และเครื่องจักรกลคุณภาพสูง พร้อมให้บริการกับคุณอย่างเต็มที่

สุมิพลให้คำปรึกษาเกี่ยวกับระบบ Automation การวางแผนระบบควบคุมการผลิตและการใช้งานเครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง ด้วยบุคลากรคุณภาพ อุปกรณ์อัตโนมัติที่ทันสมัยและโปรแกรมในการออกแบบเพื่อการทำงานเสมือนจริงมากที่สุด

ถ้าคุณสนใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อมูลของสินค้าหรือบริการจากเรา คุณสามารถติดต่อเราได้ที่นี่ หรือ Call Center 02-7623000 เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคและเครื่องมือที่พร้อมให้บริการกับคุณอย่างเต็มที่

Write a Comment