การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และติดตั้งซอฟต์แวร์ (3204-2001)-Flip eBook Pages 51 - 100

38

ใบงาน 2.2

หน่วยที่ 2 เรื่องการเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และการจัดชุดคอมพิวเตอร์

ให้ตรงตามลักษณะการใช้งาน

ค าชี้แจง : ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มละ 2-3 คน ตามความเหมาะสม เพื่อจัดสเปกคอมพิวเตอร์ขึ้นมา 1 เครื่อง ให้

สามารถติดตั้งประกอบใช้งานได้จริง โดยระบุรายละเอียดต่อไปนี้

1. CPU

1.1. บริษัทผู้ผลิต

1.2 ความเร็วของซีพียู

1.3 หน่วยความจาแคช (Cache)

1.4 ความเร็วบัส

1.5 ประกัน

2. Mainboard

2.1 Bus ของแรมในการส่งข้อมูลที่รองรับ

2.2 CPU ที่รองรับ

2.3 ช่องต่อสายสัญญาณจอภาพ , เมาส์ , คีย์บอร์ด , เสียง มีอะไรบ้าง

2.4 ประกัน

3. Ram

3.1 ประเภทแรม

3.2 ความจุ

3.3 ความเร็ว (Bus)

3.4 ประกัน

4. Hard disk

4.1 ลักษณะรูปแบบของฮาร์ดดิสก์

4.2 ความจุข้อมูล

4.3 Buffer

4.4 ประกัน

39

5. Mouse/keyboard

5.1 พอร์ตเชื่อมต่อ

5.2 ประกัน

6. Case

6.1 ลักษณะของเคส

6.2 ประกัน

7. Power Supply

7.1 อัตราการใช้พลังงานไฟฟูา

7.2 ประกัน

8. Monitor

8.1 ความละเอียดของภาพ (Resolution)

8.2 ขนาดจอภาพ

8.3 ความสว่าง (Brightness)

8.4 ช่องต่อสายสัญญาณญาณพอร์ต

8.5 ประกัน

9. Graphics Card

9.1 ความจุหน่วยความจ า

9.2 ประเภทของหน่วยความจ า

9.3 ความเร็ว (Bus)

9.4 ความละเอียดในการแสดงผล

9.5 การรองรับการเชื่อมต่อ

9.6 ประกัน

10. Optical Drive

10.1 ความเร็วในการอ่านข้อมูล

10.2 ประกัน

40

บทสรุป

1. ส่วนประกอบภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณต่อพ่วง ประกอบไปด้วย จอภาพ เคส

แปูนพิมพ์ เมาส์ พอร์ตต่างๆ ล าโพง และเครื่องพิมพ์

2. ส่วนประกอบภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เมนบอร์ด

หรือ แผงวงจรหลัก ฮาร์ดดิสก์ การ์ดจอภาพหรือการ์ดแสดงผล การ์ดเสียง ออฟติคัลดิสก์ เพาเวอร์ซัพพลาย

3. การจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะการใช้งาน จัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตามลักษณะ

งาน ต่างๆ'ได้ดังนี้

3.1 ชุดคอมพิวเตอร์ส าหรับการใช้งานทั่วไปหรืองานส านักงาน เป็นชุดคอมพิวเตอร์แบบประหยัดที่

ไม่จ าเป็นต้องใชซีพียูสมรรถนะสูงมากนัก เหมาะกับการใชงานทั่วไป เช่น งานพิมพ์เอกสาร การท่อง

อินเทอร์เน็ตทั่วๆไป งานน าเสนอ เป็นด้น

3.2 ชุดคอมพิวเตอร์ส าหรับโปรแกรมกราฟิกและงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ จ าเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีขด

ความสามารถสูงขึ้น จะมีราคาอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนช้างสูง ลักษณะงานที่ต้องใชโปรแกรมกราฟิกเพื่อ

ตกแต่งภาพทั่วไป หรือโปรแกรมออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เซ่น Photoshop Illustrator เป็นต้น

3.3 ชุดคอมพิวเตอร์ส าหรับงานประมวลผลกราฟิกขั้นสูง ใช้ซีพียูประสิทธิภาพสูง ต้องใช้การ์ด

จอภาพส าหรับงานประมวลผลกรฟิก เพื่อให้งานแสดงผลกราฟิกมีความรวดเร็ว เซ่น งานออกแบบ 3D แอนิ

เมชั่น และการ Render ภาพ เซ่น โปรแกรม Auto cad, 3D studio Max ฯลฯ

3.4 ชุดคอมพิวเตอร์ส าหรับเล่นเกมต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพ ทั้งความเร็ว ความจุ และ

มาตรฐานต่างๆ

จุดประสงค์

1. บอกอุปกรณ์ในการประกอบเครื่องคอมคอมพิวเตอร์ตามการใช้งานได้

2. อธิบายวิธีการเลือกใช้อุปกรณ์ในการประกอบเครื่อง คอมคอมพิวเตอร์ได้

3. อธิบายการจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะการใช้งานได้

เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์

1. เครื่องคอมพิวเตอร์

2. เครื่องโปรเจคเตอร์

3. เอกสารใบงานที่ 2.1

4. เอกสารใบงานที่ 2.2

41

ื้

ใบเนอหา หน่วยที่ 3

ชื่อหน่วยเรียน : การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

วิชา : การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และติดตั้งซอฟต์แวร์ รหัส : 3204-2001

ั้

ระดับชั้น : ประกาศนียบัตรวิชาชนสูง สัปดาห์ที่ : 5-7

สาระส าคัญ

ในการประกอบคอมพิวเตอร์ จ าเป็นต้องมีความรู้ความเขาใจในชนส่วนและอุปกรณต่างๆ ของ

ิ้

คอมพิวเตอร์ เครื่องมือ รวมถึงชิ้นตอนและรายละเอียดวิธีการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ อย่างดี อย่างไรก็ตามใน

ปัจจุบันความรู้เกี่ยวกับการประกอบคอมพิวเตอร์นั้นมีแพร่หลายสามารถหาความรู้ เพิ่มเติมได้จากสื่อต่างๆ

เพียงแต่ผู้ที่จะประกอบคอมพิวเตอร์ต้องให้ความใส่ใจ และฝึกปฏบัติอยู่เป็น ประจ าจนเกิดความชานาญ

ส าหรับผู้เริ่มศกษาการประกอบคอมพิวเตอร์ ต้องศกษารายละเอียดของ อุปกรณแต่ละชนถงวธการติดตั้ง

ิ้

เนื่องจากอุปกรณบางตัวมีความบอบบางและมีราคาคอนขางสูง หาก เกิดขอผิดพลาดอาจท าให้เกิดความ

เสียหาย และเสียงบประมาณในการจัดซื้อมาทดแทน

3.1 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ส าหรับประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

3.1.1 ในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์จ าเป็นต้องมีเครื่องมือที่จ าเป็นส าหรับการประกอบ เครื่อง

คอมพิวเตอร์เบื้องต้นดังต่อไปนี้

1. ไขควงแฉกและไขควงแบน ส าหรับขันสกรู

2. ไฟฉายส าหรับส่องในตัวเครื่องบริเวณที่เป็นซอกแคบ และมีด เพื่ออ่าน ตัวเลขหรือตัวอักษรที่ก ากับ

ไวในส่วนต่าง ๆ

3. คีมปากจิ้งจก เพื่อคีบอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนต่างๆ เซ่น สกรูตัวเล็กๆ

4. สายรัดข้อมือปูองกันไฟฟูาสถิต เนืองจากอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นั้นมีความอ่อนไหวต่อไฟฟูาสถิต ซึ่ง

ไฟฟูาสถิตที่สะสมอยูในตัวมนุษย์เรา อาจมีผลท าให้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ในคอมพิวเตอร์เกิดการเสียหายได้

ดังนั้นเพื่อปูองกันการเสียหายของอุปกรณอิเล็กทรอนิกส์ต้องท าการสลายไฟฟูาสถิตที่อาจอยู่ในร่างกายทุกครั้ง

5. สายรัดพลาสติก (Cable Ties) ใชส าหรับรัด หรือเก็บสายไฟ สายสัญญาณ ต่างๆ ให้มีความ

เรียบร้อย

ภาพที่ 3.1 ภาพเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบคอมพิวเตอร์

42

ิ้

3.1.2 เตรียมชิ้นส่วนอุปกรณคอมพิวเตอร์ต่าง ๆในการเตรียมชนส่วนอุปกรณต่างๆ ท าเพื่อตรวจสภาพ

ของอุปกรณ์ต่างๆ ว่ามีสภาพดีไม่ แตกหัก พร้อมทั้งจัดเตรียมไวให้เป็นระเบียบไม่ปะปนกันพร้อมใช้งานดังนี้

1. ซีพียู ให้ตรวจดูสภาพขาการหักหรืองอหรือไม่ หากเป็นหน้าสัมผัสให้ ตรวจดูความสะอาดไม่มีสิ่ง

สกปรกติดอยู่ และควรตรวจสอบการรับประกันด้วยว่าถูกต้องหรือไม่

2. แรม ให้ตรวจสภาพว่ามีร่องรอยช ารุดหรือไม่ พร้อมทั้งตรวจสอบ ระยะเวลาสิ้นสุดการรับประกันว่า

ถูกต้องหรือไม่

3. เมนบอร์ด ให้ตรวจดูสภาพวามีร่องรอยชารุดหรือไม่ พร้อมทั้งตรวจดูระยะ เวลาสิ้นสุดการ

รับประกัน พร้อมทั้งตรวจสอบอุปกรณ์ที่ให้มาพร้อมกับเมนบอร์ด เซ่น สายสัญญาณ แผ่นเพลทส าหรับติดตั้ง

ด้านท้ายเครื่อง และแผ่นซีดีส าหรับติดตั้งไดร์ฟเวอร์ เป็นต้น

4. ฮาร์ดดิสก์ ให้ตรวจสอบสภาพวามีร่องรอยชารุดหรือไม่พร้อมทั้งตรวจสอบ ระยะเวลาสิ้นสุดการ

รับประกัน

5. ชิ้นส่วนอุปกรณ์อื่น ๆ เซ่น เคส การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง ให้ท าการตรวจ สอบในลักษณะเดียวกัน

กับอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ผ่านมา คือสภาพความสมบูรณ์ ระยะเวลาการรับประกัน ชิ้นส่วน และอุปกรณต่าง ๆ ที่ให้

มาพร้อมกัน

3.2 ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

ิ้

ึ้

การประกอบชนส่วนอุปกรณขนเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีทั้งศาสตร์และศลป์ คอต้องมีความรู้

เกี่ยวกับการท างานของชิ้นส่วนอุปกรณ์ต่างๆ และต้องวางแผนล าดับขั้นตอน การประกอบเครื่อง เพื่อไม่ให้เกิด

ความผิดพลาดเพราะหากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น

1. การเตรียมเคสให้พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ เริ่มจากถอดฝาเคสออกทั้ง 2 ด้าน เพื่อ ความสะดวก

ในการประกอบ ซึ่งเคสที่ซื้อมาโดยส่วนใหญ่จะมีสกรูขนาดต่าง ๆ เสารองเมนบอร์ด และ แหล่งจ่ายไฟ (Power

Supply) ให้มากับเคสด้วย ส าหรับเคสในปัจจุบัน ส่วนใหญ่มักจะไม่สามารถ ถอดแท่นรองเมนบอร์ดออกมาได้

ดังนั้นการติดตั้งเมนบอร์ดเข้ากับตัวเคสจะมีความยุ่งยากเล็กน้อย ส าหรับตัวเคสจะมีให้เลือกใช้อยู่หลายแบบ

ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต ซึ่งแต่และแบบอาจจะใช้ตัวรอง เมนบอร์ด หรือเสารองเมนบอร์ด (Standoff) ให้ติดกับ

แท่นรองเมนบอร์ดต่างกันออกไป เซ่น เสา พลาสติก เสาทองเหลือง เป็นต้น

ภาพที่ 3.2 ภาพขุดสกรู แหวนรอง และเสาทองเหลืองส าหรับยึดเมนบอร์ด

43

2. เริ่มจากการติดตั้งซีพียูก่อน โดยง้างขาล็อคของซ็อกเก็ตขึ้นมาจากนั้นน าซีพียูมาใส่ลงไปในซ็อกเก็ต

โดยให้วางต าแหน่งขาที่ 1 ของซีพียูและซ็อกเก็ตให้ตรงกันโดยสังเกตวาที่ขาที่ 1 ของซีพียูจะท าเครื่องหมาย

เป็นจุดเล็กไว้ที่มุมด้านบนของซีพียู

ภาพที่ 3.3 ภาพการติดตั้งซีพียู

3. เมื่อวางซีพียูตรงล็อคกับซ็อกเก็ตแล้ว จากนั้นให้กดขาล็อกลงไปเหมือนเดิม แล้วน าซิลิโคนมาทตรง

บริเวคอร์(แกน)ของซีพียู และไม่ควรทาซิลิโคนให้หนา หากเห็นว่าหนาเกินไปให้ใชกระดาษหรือแผ่นพลาสติก

มาปาดออกเสียบ้าง

ภาพที่ 3.4 ภาพทาซิลิโคนให้กับซีพียู

ั้

4. ติดตั้งฮีทซิงค์และพัดลมลงไปบนคอร์ของซีพียู ติดล็อกให้เรียบร้อยในขนตอนนี้มีจุดที่ต้องระวงอยู่

2 จุดคือ การติดตั้งฮีทซิงค์ของพัดลมจะต้องแนบสนิทกับคอร์ของซีพียู อย่าพยายามกดแรงไป บางทีคอร์ของ

ซีพียูอาจบิ่นได้ ส่วนขาสปริงที่ยึดพัดลมบางทีมันแข็งเกินไป บางคนใช้ไขควงพยามยามกดขาสปริงให้เขาล็อก

ซึ่งอาจท าให้พลาดไปขูดเอาลายปริ้นบนเมนบอร์ดขาดท าให้เมนบอร์ดอาจเสียหายได้

44

ภาพที่ 3.5 ภาพติดตั้งฮีทซิงค ์

5. เสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN โดยดูจากคู่มือเมนบอร์ด

ภาพที่ 3.6 ภาพเสียบสายไฟของพัดลมเข้ากับขั้ว CPU FAN

6. น าแรมมาเสียบเข้ากับซ็อกเก็ตแรมโดยให้ตรงกับร่องของซ็อกเก็ต จากนั้นจึงกดลงไปจนด้านล็อก

ทั้ง 2 ด้านดีดขึ้นมา (บางเมนบอร์ดตัวล็อกทั้งสองด้านอาจไม่จ าเป็นต้องดีดขึ้นมาก็ได้ให้ดูว่าเข้าล็อกกันก็พอ

ภาพที่ 3.7 ภาพการติดตั้งแรม

45

7. ขนแท่นรองน็อตเขากับเคส โดยหันพอร์ตต่างๆ ออก ด้านหลังเคส ท าเครื่องหมายหรือจดจ า

ต าแหน่งรูขันสกรูบนแทนรองรับเมนบอร์ด จากนั้นน่าเสารอง เมนบอร์ด ขนยึดกับแท่นรองเมนบอร์ดให้แน่น

ตามต าแหน่งขันสกรูของเมนบอร์ดจนครบทุกรู

ภาพที่ 3.8 ภาพขันแท่นรองน็อตเข้ากับเคส

8. การติดตั้งเมนบอร์ดท าโดยจัดวางเมนบอร์ดลงบนแท่นรอง โดยหันด้านที่เป็นพอร์ตต่างๆ ของ

เมนบอร์ดให้สวมเข้าพอดีกับแผ่นเพลทที่ติดตั้งไว้ก่อนแล้ว ขันสกรูยึดเมนบอร์ดกับเสารอง เมนบอร์ดให้ครบทุก

จุด ควรระวังไม่ให้ไขควงไปขูดเมนบอร์ด เพราะอาจจะเกิดความเสียหายได้

ภาพที่ 3.9 ภาพการติดตั้งเมนบอร์ด

46

9. ติดตั้ง Power Supply โดยขนน็อตยึดเป็นแบบกากบาท เคสที่มีจ าหน่ายทั่วไปบางเคสจะมี

แหล่งจ่ายไฟติดตั้งมาให้ด้วย บางเคสจะต้องซื้อ แหล่งจ่ายไฟมาติดตั้งเพิ่มเติม ส าหรับการติดตั้งแหล่งจ่ายไฟ

คอนขางสะดวกเนื่องจากต าแหน่งการ ติดตั้งจะถกก าหนดโดยรูฃันสกรู หากวางต าแหน่งไม่ถกต้องจะไม่

สามารถขันสกรูได้ครบทุกตัว

ภาพที่ 3.10 ภาพติดตั้ง Power Supply

10. เมนบอร์ดที่มีลักษณะเป็นออลอินวัน (All in One) คือมีการ์ดแสดงผล ติดตั้งมาให้บน เมนบอร์ด

แล้ว ก็สามารถติดตั้งการ์ดแสดงผลเพื่อการแสดงผลกราฟิกที่มีคุณภาพดขนได้โดยไม่ต้อง ก าหนดคาใด ๆ เลย

ึ้

เพราะการ์ดแสดงผลที่ติดตั้งเพิ่มเข้าไปจะถูกก าหนดให้ท างานเป็นการ์ดแสดงผล หลักโดยอัตโนมัติ ซึ่งวธการ

ติดตั้งท าได้โดยถอดแผ่นเหล็กด้านหลังเครื่องที,ตรงกับซ่องติดตั้งการ์ด แสดงผลออกก่อน จากนั้นเสียบการ์ด

แสดงผลลงในสล็อตโดยหันพอร์ตเชอมต่อจอไปด้านหลังเครื่อง ซึ่งปัจจุบันสล็อตที่ใช้ติดตั้งการ์ดแสดงผลจะ

ื่

เป็นสล็อตแบบพีซีไอเอ็กซ์เพรส X16 (PCI-Express X16)

ภาพที่ 3.11 ภาพการติดตั้งการ์ดแสดงผล

47

11. เสียบการ์ดเสียงลงไปในสล็อต PCI เสร็จแล้วขนน็อตยึดติดกับเคส ติดตั้งการ์ดเสียง ท าได้เซ่น

เดียวกับการติดตั้งการ์ดแสดงผล หากแต่เมนบอร์ด ที่มีการ์ดเสียงติดตั้งมาพร้อมกับเมนบอร์ดแล้ว (On

Board) เมื่อติดตั้งการ์ดเสียงตัวใหม่เข้าไปแล้ว ต้องไปปิดการท างานของการ์ดเสียงออนบอร์ดในไบออสก่อน

การ์ดที่ติดตั้งเพิ่มเติมจึงจะท างานได้

ภาพที่ 3.12 ภาพติดตั้งการ์ดเสียง

12. เสียบสายเพาเวอร์ซัพพลายเข้ากับขั้วต่อบนเมนบอร์ด โดยควรเสียบให้ปลั๊กของสายเพาเวอร์ซัพ

พลายตรงล็อกกับขั้วต่อบนเมนบอร์ด

ภาพที่ 3.13 ภาพเสียบสายเพาเวอร์ซัพพลายเข้ากับขั้วต่อบนเมนบอร์ด

48

13. ท าการติดตั้งอุปกรณ์ออปติคอลไดร์ฟในต าแหน่งของอุปกรณ์ออปติคอลไดร์ฟ ขันสกรูให้ แน่น ล า

หรับการติดตั้งสายสัญญาณจะมีลักษณะการติดตั้งลักษณะเซ่นเดียวกันกับฮาร์ดดิสก์ เนื่องจากมีอินเทอร์เฟส

แบบเดียวกัน เพียงแต่ควรก าหนดให้อุปกรณ์ออปติคอลไดร์ฟเป็นอุปกรณรอง (Slave) ในกรณมีอินเทอร์เฟส

เป็นแบบไอดีอี ซึ่งโดยปกติจะถูกตั้งค่ามาจากโรงงานเป็นอุปกรณ์รองอยู่ แล้ว ส่วนอุปกรณ์ออปติคอลไดร์ฟที่มี

อินเทอร์เฟสเป็นแบบซาต้า ให้เซื่อมต่อพอร์ตซาต้าในล าดับถัด จากฮาร์ดดิสก์

ภาพที่ 3.14 ภาพติดตั้งอุปกรณ์ออปติคอลไดร์ฟ

14. เสียบสาย SATA เข้ากับไดรฟ์ซีดีรอม จากนั้นจึงเสียบสายไฟเลี้ยง

ภาพที่ 3.15 ภาพเสียบสาย SATA เข้ากับไดร์ฟซีดีรอม

49

15. ฮาร์ดดิสก์ทีนิยมใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครื่องพีซีในปัจจุบันคือ อินเทอร์เฟสแบบ

ไอคีรี (IDE) และซาต้า (SATA) แต่อินเทอร์เฟสแบบไอคีรี ในเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น ใหม่ ๆ ได้ถกยกเลิกการใช ้

งานแล้ว และถูกทดแทนด้วยอินเทอร์เฟสแบบซาต้า แต่หากมีโอกาสได้ถอด ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น

เก่า ก็จ าเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในการติดตั้งฮาร์ดดิสก์แบบไอคีรี เช่นกัน ส าหรับการติดตั้งฮาร์ดดิสก์ท า

โดยน่าฮาร์ดดิสก์ใส่ในพื้นที่ติดตั้งฮาร์ดดิสก์ และขันสกรูให้แน่น จากนั้นเลียบสายสัญญาณจากเมนบอร์ด เข้า

กับฮาร์ดดิสก์

ภาพที่ 3.16 ภาพติดตั้งฮาร์ดดิสก์

16. เสียบสายสัญญาณต่างๆ จากเคส เชน สวตชเปิดปิดเครื่อง ไฟบอกสถานะเปิดเครื่อง ไฟบอก

ั้

สถานะฮาร์ดดิสค์ ปุุม Reset ล าโพง ลงบนเมนบอร์ดควรดูคู่มือเมนบอร์ดประกอบด้วย โดยต้องเสียบขวให้ถก

หากผิดขั้ว คอมพิวเตอร์จะไม่ติดหรือมีไฟค้างตลอดเวลาวิธีแก้ไขคือให้เราลองสลับขั้วและเปิดเครื่องขึ้นมาใหม่

ภาพที่ 3.17 ภาพเสียบสายสัญญาณ

17. เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้เราลองส ารวจดูว่ามีน็อตหรืออุปกรณ์อื่นๆตกค้างอยู่บนเมนบอร์ดหรือไม่

เพราะอาจท าให้เกิดกระแสไฟลัดวงจรจนเกิดความเสียหายต่อเมนบอร์ดและอุปกรณต่างๆ บนเมนบอร์ดได้

นอกจากนี้ควรตรวจสอบ การติดตั้งทั้งหมดวาเรียบร้อยดีแล้ว เชน การ์ดต่างๆ หรือสายสัญญาณเสียบแน่น

หนาดีหรือยัง โดยเฉพาะฮีทซิงค์และพัดลมต้องแนบสนิทกับซีพียู พร้อมทั้งล็อกติดกันอย่างแน่นหนา

50

18. เมื่อเรียบร้อยดีแล้วปิดฝาเคสและขนน็อตให้เรียบร้อย ก็เป็นอันเสร็จสิ้นขนตอนการประกอบ

ั้

เครื่องอย่างถูกต้องและสมบูรณ์แบบแล้ว

ภาพที่ 3.18 ภาพปิดฝาเคส

3.3 ข้อควรระวังในการป้องกันความเสียหายของอุปกรณ์ระหว่างประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

การประกอบชิ้นส่วนอุปกรณ์ขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีทั้งศาสตร์และศิลป์ คือต้องมีความรู้เกี่ยวกับ

การท างานของชิ้นส่วนอุปกรณ์ต่างๆ และต้องวางแผนล าดับขนตอน การประกอบเครื่อง เพื่อไม่ให้เกิดความ

ั้

ผิดพลาดเพราะหากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น อาจต้องถอด อุปกรณ์เข้าออกหลายครั้งซึ่งอาจจะท าให้ อุปกรณนั้น

เสียหายได้ ซึ่งข้อควรระวังในการปูองกันความเสียหายของอุปกรณ์ระหว่างประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์มีดังนี้

1. ระมัดระวังเรื่องไฟฟูาสถิต ที่อาจส่งผลเสียหายต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

2. ระวังอย่างของมีคม หรืออุปกรณ์ตกกระทบบนเมนบอร์ด

3. ขันสกรูยึดแผงเมนบอร์ดเข้ากับเมนบอร์ด ให้แน่นพอดี ไม่ต้องขันแน่นจนเกินไป

4. รวบและรัดสายสัญญาณ สายไฟ และขั้วต่อปลั๊กไฟต่างๆ ให้เรียบร้อย

5. ระวังอย่าให้มีเศษวัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นตัวน าไฟฟูา หล่นอยู่บนเมนบอร์ด

6. การประกอบคอมพิวเตอร์ ต้องระวังไม่ให้พอร์ตเชื่อมต่อในเครื่องหรือเมนบอร์ด หัก หรือ งอ

7. การต่อ CPU ต้องระวังไม่ให้ขา CPU หัก งอ หรือ ตกกระแทรก

8. การประกอบคอมพิวเตอร์ ต้องมีระเบียบ ความประณต เวลาถอดน็อต ต้องไม่ให้มันกระจัด

กระจาย

9. สายไฟไม่ควรให้มันพันกัน เพราะอาจขาดได้

10. อย่าให้สายไฟบังทางลมของพัดลมเป็นสิ่งส าคญอย่างหนึ่ง และถาพัดลมหักจะท าให้การระบาย

ความร้อนภายในเครื่องได้ไม่ดี

51

3.4 การทดสอบการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์

3.4.1 เชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์

หลังตรวจสอบดูจนแน่ใจว่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ติดตั้งถูกต้องเรียบร้อยแล้ว ให้ท าการจัด สายไฟ และ

สายสัญญาณ โดยใช้สายรัดพลาสติก (Cable Ties) รัดรวบสายให้เรียบร้อย ท าการ เชื่อมต่ออุปกรณภายนอก

ต่าง ๆ เซ่น คีย์บอร์ด เมาส์ สายจอแสดงผล สายไฟเข้า แหล่งจ่ายไฟ

ภาพที่ 3.19 ภาพการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์

3.4.2 ตรวจสอบ และทดสอบการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์

ก่อนท าการเปิดเครื่องเพื่อทดสอบการท างาน ควรตรวจดูความเรียบร้อยด้วยตาเปล่าอีก ครั้ง จากนั้น

เสียบปลั๊กไฟ ท าการเปิดสวิตซ์เปิดเครื่อง หากมีความผิดปกติใด ๆ จะมีการแจ้งเตือนใน รูปแบบต่างๆ เช่นมี

เสียงดังจากล าโพง ให้ตรวจสอบแรม และการ์ดแสดงผล อาจจะใส่ไม่แน่น แล้ว ทดลองเปิดเครื่องอีกครั้ง หาก

สามารถท างานได้ไม่มีความผิดปกติใดๆ ให้ท าการจัดสายไฟ สายสัญญาณ และรัดเก็บสายด้วยสายรัดพลาสติก

(Cable Ties) ปิดฝาเครื่อง และขันสกรูให้แน่น

ภาพที่ 3.20 ภาพการตรวจสอบและทดสอบการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์

52

ใบงาน 3.1

หน่วยที่ 3 เรื่องการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

ค าชี้แจง : ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มละ 3-4 คน ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอน และจดบันทึก

ั้

ขนตอนปฏบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมทดสอบการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์หลังจาก

ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์เสร็จ

อุปกรณที่ต้องเตรียม

1. CPU + Heat sink

2. Power Supply

3. Case

4. Mainboard

5. RAM

6. Hard Disk

7. DVD ROM

8. สาย SATA

9. Monitor

10. Mouse

11. Keyboard

12. สาย VGA 1 เส้น

13. สายไฟ AC 2 เส้น

14. ชุดไขควง

15. ซิลิโคน

53

ใบงาน 3.2

หน่วยที่ 3 เรื่องการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปน ี้

1. จงบอกความส าคัญของการเตรียมอุปกรณส าหรับประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

2. อุปกรณ์ที่จ าเป็นในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จงอธิบายหลักการในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จงบอกปัญหาอุปสรรค์ที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหาจากการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. จงบอกข้อควรระวังในการปูองกันความเสียหายของอุปกรณ์ระหว่างประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์มา 5 ข้อ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. จงบอกความส าคัญของการทดสอบการท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

54

บทสรุป

ิ้

ในการประกอบคอมพิวเตอร์ จ าเป็นต้องมีความรู้ความเขาใจในชนส่วนและอุปกรณต่าง ๆ ของ

คอมพิวเตอร์ เครื่องมือ รวมถึงขั้นตอนและรายละเอียดวิธีการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ อย่างดี อย่างไรก็ตามใน

ปัจจุบันความรู้เกี่ยวกับการประกอบคอมพิวเตอร์นั้นมีแพร่หลายสามารถหาความรู้ เพิ่มเติมได้จากสื่อต่าง ๆ

เพียงแต่ผู้ที่จะประกอบคอมพิวเตอร์ต้องให้ความใส่ใจ และฝึกปฏบัติอยู่เป็น ประจ าจนเกิดความชานาญ

ส าหรับผู้เริ่มศกษาการประกอบคอมพิวเตอร์ ต้องศกษารายละเอียดของ อุปกรณแต่ละชนถงวธการติดตั้ง

ิ้

เนื่องจากอุปกรณบางตัวมีความบอบบางและมีราคาคอนขางสูง หาก เกิดขอผิดพลาดอาจท าให้เกิดความ

เสียหาย และเสียงบประมาณในการจัดซื้อมาทดแทน

ึ้

ิ้

การประกอบชนส่วนอุปกรณขนเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น มีทั้งศาสตร์และศลป์ และต้องวางแผน

ล าดับขั้นตอน การประกอบเครื่อง เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดเพราะหากมีขอผิดพลาดเกิดขน อาจต้องถอด

ึ้

อุปกรณ์เข้าออกหลายครั้งซึ่งอาจจะท าให้ อุปกรณ์นั้นเสียหายได้ ซึ่งขอควรระวงในการปูองกันความเสียหาย

ของอุปกรณ์ระหว่างประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

จุดประสงค์

1. บอกเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และวิธีการจัดเก็บได้

2. อธิบายขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

3. ปฏิบัติการการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง

4. บอกข้อควรระวังในการปูองกันความเสียหายของอุปกรณ์ระหว่างประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

5. อธิบายการทดสอบการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์

1. เครื่องมือประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

2. อุปกรณ์ในประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์

3. เครื่องโปรเจคเตอร์

4. เอกสารใบงานที่ 3.1

5. เอกสารใบงานที่ 3.2

55

ใบเนอหา หน่วยที่ 4

ื้

ชื่อหน่วยเรียน : การติดตั้งระบบปฏิบัติการ

วิชา : การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และติดตั้งซอฟต์แวร์ รหัส : 3204-2001

ระดับชั้น : ประกาศนียบัตรวิชาชั้นสูง สัปดาห์ที่ : 8-11

สาระส าคัญ

ระบบปฏบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คอโปรแกรมที่ท าหน้าที่เป็นตัวกลาง

เชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์ (Hardware) กับ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปซึ่งท าหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้อีกที โดยจะ

ท าหน้าที่ควบคุมการแสดงผล การท างานของฮาร์ดแวร์ ให้บริการกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปในการรับส่งและ

จัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ และจัดสรรการใช้ทรัพยากรระบบ (Resources) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

4.1 การตรวจสอบคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์

วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ Windows 7

1. ให้คลิกขวาที่ My computer หรือ Computer และเลือก Properties จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง

แสดงรายละเอียดของเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมา

ภาพที่ 4.1 ภาพการเข้าถึง Properties ของเครื่องคอมพิวเตอร์

56

2. สามารถตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ดังนี้

ส่วนที่ 1 : ส่วนของ Windows edition คือส่วนที่แสดงระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์

ส่วนที่ 2 : หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์

หน่วยความจ าหลักของคอมพิวเตอร์ (RAM) ที่ใช้

System type ของ Operating System เครื่องคอมพิวเตอร์ (32 bit, 64bit)

1

2

ภาพที่ 4.2 ภาพตัวอย่างแสดงคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ Windows 7

3. ตรวจสอบส่วนของ DirectX Diagnostic Tool โดยเขาไปที่ Start >> Run พิมพ์ “dxdiag” แล้ว

Enter ซึ่งจะแสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 4.3 ภาพหน้าต่าง DirectX Diagnostic Tool Windows 7

57

Current Date/Time : แสดง วัน เวลา

Computer : ชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์

Operating System : OS ที่ใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์

Language : ภาษาที่ใช ้

System Manufacturer : Hewlett-Packard

System Model : รุ่นของเครื่อง

Bios : ไบออส

Processor : รุ่นของ CPU และรายละเอียด

Memory : หน่วยความจาของ RAM

Page File : หน่วยความจาที่เครื่องสร้างมาเพื่อใชงานที่

DirectX Version : รุ่นของ DirectX ที่ใช

วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ Windows 10

1.กดปุุมที่ Menu Start แล้วเลือก Setting จากหน้าหลักของระบบปฏิบัติการ Windows 10

ภาพที่ 4.4 ภาพภาพการเข้าถง System ระบบ

58

2. เลือกไปที่ System ครับเพื่อจะไป Menu ที่ตรวจสอบ Version Windows

ภาพที่ 4.5 ภาพแสดงเมนู System

3. ระบบจะแสดงรายละเอียด Version Windows และสเปกของเครื่องคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 4.6 ภาพแสดงคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ Windows 10

59

3. ตรวจสอบส่วนของ DirectX Diagnostic Tool โดยเข้าไปที่ Start >> Run พิมพ์ “dxdiag” แล้ว

Enter ซึ่งจะแสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์

Current Date/Time : แสดง วัน เวลา

Computer : ชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์

Operating System : OS ที่ใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์

Language : ภาษาที่ใช ้

System Manufacturer : Hewlett-Packard

System Model : รุ่นของเครื่อง

Bios : ไบออส

Processor : รุ่นของ CPU และรายละเอียด

Memory : หน่วยความจาของ RAM

Page File : หน่วยความจาที่เครื่องสร้างมาเพื่อใช้งานที่

DirectX Version : รุ่นของ DirectX ที่ใช ้

ภาพที่ 4.7 ภาพหน้าต่าง DirectX Diagnostic Tool Windows 10

60

4.2 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7

1. เลือก Boot Option ว่าต้องการติดตั้ง Windows ผ่านอุปกรณ์ใด ในตัวอย่างเลือกระบบด้วยแผ่น

DVD Windows 7

ภาพที่ 4.7 ภาพ Boot Option

2. ระบบจะท าการโหลดไฟล์ setting ลงไปในเครื่อง

ภาพที่ 4.8 ภาพโหลดไฟล์ setting

61

3. จะปรากฏหน้าต่างส าหรับเริ่มต้นการติดตั้ง Windows 7

ภาพที่ 4.9 ภาพหน้าต่างเริ่มต้นการติดตั้ง Windows 7

 หน้าเริ่มต้นการติดตั้ง บรรทัดแรก เลือกภาษาอังกฤษในการติดตั้ง

 บรรทัดสอง เลือก time and currency format ชองนี้ให้เลือกเป็นไทย เพื่อที่วาเวลา

ติดตั้งเสร็จวินโดวส์จะมีภาษาไทยให้ใช ้

 บรรทัดที่สาม keyboard เป็น US ก็ได้ครับไม่มีปัญหา แล้วกด next

62

4. ระบบจะเข้าสู่หน้าต่างที่มีตราสัญลักษณ์หรือโลโก้Windows 7 พร้อมที่จะติดตั้ง กด Install now

ภาพที่ 4.10 ภาพเข้าสู่หน้าต่างการติดตั้ง

 ด้านล่างจะมีทางเลือกพิเศษให้สองทาง

 What to know before installing windows จะเปิดไฟล์ Help and support ซึ่งจะ

บอกรายละเอียดของการติดตั้งเพิ่มเติม

 Repair your computer คือการซ่อมวินโดวส์แบบไม่ต้องลงใหม่

ภาพที่ 4.11 ภาพการเลือกติดตั้ง Windows 7

63

5. ระบบจะแสดงรายละเอียด License ของระบบปฏิบัติการ Windows 7 ให้คลิกที่ช่อง I accept

เพื่อยอมรับข้อตกลง แล้วกด Next

ภาพที่ 4.12 ภาพหน้าต่าง License

6. เลือกหัวข้อการติดตั้ง Upgrade จะเป็นการลงวินโดวส์ทับของเก่า โปรแกรมและไฟล์จะไม่หาย

และ Custom จะเป็นการติดตั้งแบบลงใหม่หมด พร้อมฟอร์แมตดิสค์

ภาพที่ 4.13 ภาพหัวข้อการติดตั้ง Windows 7

64

7. หน้าต่างที่แสดงถึงไดร์ฟของ Hard disk ให้คลิก options (advanced) เพื่อแสดงค าสั่งในการ เพิ่ม

ลบ แก้ไข ไดร์ฟ

ภาพที่ 4.14 ภาพหน้าต่างที่แสดงไดร์ฟ

8. จะปรากฏเมขึ้นมา ให้คลิก New เพื่อท าการสร้างไดร์ฟ

ภาพที่ 4.15 ภาพการสร้างไดร์ฟ

65

9. ก าหนด Size ให้เราใส่ขนาดของพื้นที่ไดร์ฟนั้น เมื่อใส่ Size แล้ว ให้กดปุุม Apply

ภาพที่ 4.16 ภาพก าหนด Size ของไดร์ฟ

 หน้าต่างนี้ จะถามว่า คุณจะติดตั้งลงไดร์ฟไหน

 ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์มีหลายไดร์ฟ ต้องจ าชื่อหรือ จ าขนาดให้ดี เลือกแล้ว กด next

10. คลิกเลือก Disk 0 Partition 2 แล้วกดปุุม Next

ภาพที่ 4.17 ภาพการเลือกไดร์ฟตอดตั้ง Windows 7

66

แนะน าเพิ่มเติม ในขั้นตอนน ี้

1. ท าการลบ Partition ทั้งหมดให้เหลือ Partition เดียว แล้วคลิก Next กรณีนี้สามารถแบ่ง

Partition ได้ภายหลังจากติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้วอย่างง่ายดาย

2. ท าการแบ่ง Partition ตามต้องการแล้วจึง คลิก Next

11. ระบบจะเข้าสู่การติดตั้งไฟล์ Windows 7

ภาพที่ 4.18 ภาพการติดตั้งไฟล์ Windows 7

12. เมื่อติดตั้งไฟล์เสร็จเรียบร้อย ระบบจะให้ตั้งชื่อผู้ใช้และชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง สามารถใส่ชื่อ

อะไรก็ได้ จากนั้นกดปุุม Next

ภาพที่ 4.19 ภาพการตั้งชื่อผู้ใช้และชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์

67

15. ระบบจะเข้าสู่การตั้งค่ารหัสผ่าน (Password) ก่อนเข้าสู่วินโดว์ถ้า หากไม่ต้องการตั้งรหัสผ่าน ให้

กดปุุม Next ได้เลย

ภาพที่ 4.20 ภาพการตั้งค่ารหัสผ่าน

16. ระบบจะให้ใส่ Product key ซึ่งขั้นตอนสามารถกด Next แล้วใส่ Product key ภายหลังได้ ถ้า

หากไม่ใส่ Product key จะสามารถใช้งานได้ 30 วัน

ภาพที่ 4.21 ภาพการใส่ Product key

68

17. ตั้งค่าการอัพเดต แนะน าให้เลือก Use recommended setting

ภาพที่ 4.22 ภาพการตั้งค่าการอัพเดต

18. จะเข้าสู่'หน้าต่างการตั้งค่าเวลา Time zone ให้คลิกเลือกเขตเวลา ในกรุงเทพ (UTC+07:00)

Bangkok, Hanoi, Jakarta จากนั้นคลิก Next

ภาพที่ 4.23 ภาพการตั้งค่าเวลา Time zone

69

19. ตั้งค่าสภาพแวดล้อมในการใช้งานคอมพิวเตอร์ แต่ละหัวข้อจะมีความปลอดภัยต่างกัน

ภาพที่ 4.24 ภาพการตั้งค่าสภาพแวดล้อม

 Home network ความปลอดภัยจะต่ า เน้นการแชร์ไฟล์ให้กันและกัน

 Work network ความปลอดภัยปานกลาง แชร์ไฟล์ได้แต่ต้องมีรหัสผ่าน

 Public network ความปลอดภัยสูง ไม่เก็บพาสเวร์ดและไม่แชร์ไฟล์

20. เสร็จสิ้นการติดตั้ง เตรียมเข้าสู่ Windows 7

ภาพที่ 4.25 ภาพเสร็จสิ้นการติดตั้ง

70

21. เสร็จสิ้นกระบวนการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7

ภาพที่ 4.26 ภาพเสร็จสิ้นกระบวนการติดตั้ง

สังเกตได้ว่า ติดตั้งง่าย รวดเดียวจบ ไม่ต้องลงไดร์ฟเวอร์เลย ระบบมันจะหาให้เราเองหมด อาจจะมีบ้างเชน

เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับเครื่องพิมพ์หรือเครื่องสแกนเนอร์หรือฮาร์ดแวร์อื่นๆ ที่อาจจะจ าเป็นต้องหา

ไดร์ฟเวอร์มาลงเอง แค่หาไดร์ฟเวอร์ส่วนต่างๆในเครื่องได้ก็แจ๋วแล้วครับ

71

4.3 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 10

1. เปิดเครื่องท าการเข้า BIOS ของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยการกด Del/F2 แล้วแต่ BIOS ของแต่ล่ะ

เครื่องคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 4.27 ภาพหน้า BIOS

2. เป็นการปรับ BIOS โดยถ้าต้องการให้ Boot USB ก็ให้ท าการเลื่อน USB ขึ้นมาบนสุด แต่ถ้าจะให้

CD/DVD Boot ก็ให้เลื่อนให้ขึ้นมาบนสุด โดยการกด ในการ เลื่อนขึ้นลง”

ภาพที่ 4.28 ภาพการปรับ BIOS

72

ิ่

3. จะปรากฏหน้าจอการตั้งค่าภาษาในการติดตั้ง เวลาท้องถน และตัวปูอนภาษา

ภาพที่ 4.29 ภาพการตั้งค่าภาษาในการติดตั้ง เวลาท้องถิ่น และตัวปูอนภาษา

4. กด Install now เพื่อท าการติดตั้ง Windows 10

ภาพที่ 4.30 ภาพหน้าต่าง Install now

73

5. ท าการเลือกเครื่องหมายถูกในซ่อง I accept license terms จากนั้นคลิก Next

ภาพที่ 4.31 ภาพหน้าต่างยอมรับข้อตกลง

6. ในขั้นตอนนี้จะเป็นการเลือกประเภทของ Install ให้เลือก Custom : Install Windows Only

(Advanced)

ภาพที่ 4.32 ภาพการเลือกประเภทของ Install

74

7. กรณเป็นเครื่องที่ซื้อใหม่ที่ยังไม่เคยลง windows มาก่อนต้องท าการแบ่ง partition โดยเลือกที่

Drive 0 Unallocated Space แล้วคลิกที่ New จากนั้นก าหนดขนาดไดร์ฟ C: โดยหน่วยจะเป็น MB (1024

MB = 1 GB) แนะน าที่ 100 GB (หากมีขนาด HDD มากกวา 100 GB ให้เลือก Drive 0 Unallocated

Space แล้วแบ่ง partition ที่เหลือ)

ภาพที่ 4.33 ภาพหน้าต่างที่แสดงไดร์ฟ

8. รอท าการติดตั้งของ Windows 10 โดยเวลาในการลงคอมพิวเตอร์จะช้าหรือจะเร็วขึ้นอยู่กับ

ทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 4.34 ภาพการติดตั้งของ Windows 10

75

9. หลังจากที่ติดตั้งเรียบร้อย จะเขาหน้า It’s time to enter the product key ให้ระบุ product

key windows 10 แล้วคลิก Next หรือกดข้ามไปแล้วใส่ product key ในภายหลัง โดยคลิกที่ Do this later

ภาพที่ 4.35 ภาพหน้าต่าง License Windows 10

10. ให้ท าการเลือก Use Express Settings Click Use Express Settings

ภาพที่ 4.36 ภาพการเลือกการตั้งค่า

76

11. Windows จะให้ลงชื่อเข้าใช้โดยบัญชี Microsoft ถ้าไม่มีบัญชีสามารถสมัครใช้งาน แล้วกด Next

ภาพที่ 4.37 ภาพการลงชื่อเข้าใช้โดยบัญชี Microsoft

12. Windows จะให้ท าการยืนยัน Email แล้วท าการส่ง แต่สามารถคลิกท าการข้ามขั้นตอนนี้แล้วไป

ท าทีหลัง ให้เลือก I can’t do this right now

ภาพที่ 4.38 ภาพการยืนยัน Email

77

13. กด Next เพื่อท าขั้นตอนต่อไป

ภาพที่ 4.39 ภาพการยืนยันข้อมูลเสร็จเรียบร้อย

14. เสร็จสิ้นการติดตั้งอย่างสมบูรณ์ในขั้นตอนนี้ Windows จะท าการเตรียมพร้อมส าหรับโปรแกรม

ต่างๆ อาจจะใช้เวลาชัดครู่

ภาพที่ 4.40 ภาพการเตรียมพร้อมส าหรับโปรแกรม

78

15. ปรากฏหน้า Desktop เป็นการเสร็จสิ้นขั้นตอนการติดตั้ง Windows และพร้อมใช้งาน

ภาพที่ 4.41 ภาพ Desktop Windows 10

79

ใบงาน 4.1

หน่วยที่ 4 เรื่องการติดตั้งระบบปฏิบัติการและการปรับแต่งระบบปฏิบัติการ

ค าชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปน ี้

1. จงบอกความส าคัญของการตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

2. จงบอกข้อควรระวังในการติดตั้งระบบปฏบัติมา 5 ข้อ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จงบอกความแตกต่างของระบบปฏิบัติการ Windows 7 และ Windows 10

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จงบอกปัญหาอุปสรรค์ที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหาจากการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. จงบอกปัญหาอุปสรรค์ที่พบและแนวทางการแก้ไขปัญหาจากการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 10

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. จงบอกจุดเด่นของระบบปฏิบัติการ Windows 10 มา 5 ข้อ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

80

ใบงาน 4.2

หน่วยที่ 4 เรื่องการติดตั้งระบบปฏิบัติการและการปรับแต่งระบบปฏิบัติการ

ค าชี้แจง : ตอนที่ 1 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มละไม่เกิน 3 คน ปฏิบัติการติดตั้ง WINDOWS 7 และการตั้งค่าการใช ้

งานพื้นฐานอย่างถูกต้องตามขั้นตอนในระยะเวลาที่ก าหนด

อุปกรณที่ต้องเตรียม

1. ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์กลุ่มละ 1 ชุด

2. Flash Drive ส าหรับ Boot Windows 7

ตอนที่ 2 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มละไม่เกิน 3 คน ปฏิบัติการติดตั้ง WINDOWS 10 และการตั้งค่าการ

ใชงานพื้นฐานอย่างถูกต้องตามขั้นตอนในระยะเวลาที่ก าหนด

อุปกรณที่ต้องเตรียม

1. ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์กลุ่มละ 1 ชุด

2. Flash Drive ส าหรับ Boot Windows 10

81

บทสรุป

การตรวจสอบคณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถตรวจการหลายวธ เชน คาสั่งใน

ระบบปฏิบัติการ, โปรแกรมส าหรับในการตรวจคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์, การตรวจสอบใน BIOS และ

การตรวจสอบด้วยตัวเองโดยการส ารวจอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่

ระบบปฏบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS) คอโปรแกรมที่ท าหน้าที่เป็นตัวกลาง

เชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์ (Hardware) กับ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปซึ่งท าหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้อีกที โดยจะ

ท าหน้าที่ควบคุมการแสดงผล การท างานของฮาร์ดแวร์ ให้บริการกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปในการรับส่งและ

จัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ และจัดสรรการใช้ทรัพยากรระบบ (Resources) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธภาพ

Windows 10 ถูกปล่อยให้ดาวน์โหลดเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2015 และปล่อยตัวเต็มออก โดยก่อน

นี้ได้ปล่อยตัว technical preview ออกมาให้ทดสอบ วธลง Windows 10 โดยขนตอนการลง Windows

ั้

เวอร์ชั่นนี้ก็มีขั้นตอนที่คล้ายๆกับ Windows 7 และ 8/8.1 โดยมีขั้นตอนที่ไม่ต่างกันมากนัก

จุดประสงค์

1. อธิบายการตรวจสอบคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ได้

2. ติดตั้งและการปรับแต่งขั้นพื้นฐานระบบปฏิบัติการ Windows 7 ได้อย่างถูกต้อง

3. ติดตั้งและการปรับแต่งขั้นพื้นฐานระบบปฏิบัติการ Windows 10 ได้อย่างถูกต้อง

เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์

1. ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์

2. Flash Drive ส าหรับ Boot Windows

3. แผ่น DVD ส าหรับ Boot Windows

4. เครื่องโปรเจคเตอร์

5. เอกสารใบงานที่ 4.1

6. เอกสารใบงานที่ 4.2

82

ื้

ใบเนอหา หน่วยที่ 5

ชื่อหน่วยเรียน : การติดตั้งโปรแกรมควบคุมอุปกรณ

วิชา : การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และติดตั้งซอฟต์แวร์ รหัส : 3204-2001

ระดับชั้น : ประกาศนียบัตรวิชาชั้นสูง สัปดาห์ที่ : 12-13

สาระส าคัญ

โปรแกรมควบคมอุปกรณ หรือ Driver Computer คอ โปรแกรมหนึ่งที่จะชวยให้ชนส่วนต่างๆ ที่

ิ้

น ามาประกอบเป็นคอมพิวเตอร์ สามารถท างานได้อย่างเต็มประสิทธภาพ โดยจะเป็นตัวขบเคลื่อน หรือ

เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณคอมพิวเตอร์ (Hardware) ไม่วาจะเป็นเมนบอร์ด การ์ดจอ เมาส์ เครื่องพิมพ์ และ

ชนส่วนต่างๆของคอมพิวเตอร์ กับ ระบบปฏบัติการ (OS) เพื่อให้ระบบปฏบัติการสามารถ ใชงานอุปกรณ ์

ิ้

เหล่านั้นได้ หากไม่มีไดรเวอร์ อุปกรณคอมพิวเตอร์เหล่านั้นอาจไม่สามารถใชงานได้ หรืออาจใชได้แต่ไม่ดี

เท่าที่ควร ดังนั้น ทุกครั้งที่เราเพิ่มอุปกรณเขาไปใหม่ เชน เมื่อต้องการจะติดตั้งการ์ดจอ ที่เพิ่งซื้อมาใหม่

คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถรู้ได้ว่าอุปกรณ์ตัวนั้นชื่ออะไร ท าอะไรได้บ้าง และต้องสั่งงานมันอย่างไร เราจะต้อง

ลงโปรแกรม เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์ทราบถึงรายละเอียดของอุปกรณ์ รวมทั้งวธใชงานอุปกรณเหล่านั้นด้วย

ซึ่งโปรแกรมนั้นก็คือ ไดรเวอร์ นั่นเอง ส่วนเรื่องการติดตั้ง Driver ให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ หากเครื่องคอมพิวเตอร์

และอุปกรณต่าง ๆ ที่มีอยู่เป็นแบบรุ่นเก่า ๆ อาจจะไม่ต้องท าอะไรเลยเพราะวา Windows จะจัดการกับ

Driver ต่าง ๆ ให้เรียบร้อยแล้ว หรือที่เรียกกันวา Plug and Play นั่นเอง แต่ถาหากอุปกรณต่าง ๆ ที่ใชงาน

เป็นรุ่นใหม่ ก็ต้องมาท าการติดตั้ง Driver ของอุปกรณต่าง ๆ เอง เพื่อให้สามารถใชงานอุปกรณเหล่านั้นได้

สมบูรณ ์

ติดตั้งไดร์ฟเวอร์ต่างๆของ Windows

หลังจากที่ท าการลง Windows เสร็จสิ้นเรียบร้อย และหลังจากนั้นต้องท าการลงไดร์ฟเวอร์ต่างๆ

อาทิเชน Driver ของการ์ดจอ , Driver เสียง , Driver LAN / Wireless โดยคอมพิวเตอร์ใหม่ๆบางเครื่อง

หลังจากที่ท าการลง Windows เรียบร้อย คอมพิวเตอร์บางรุ่นก็จะได้ Driver พวกนี้มาเลย แต่ถาลง

Windows เรียบร้อย แต่ปรากฏวาไม่มีเสียง หรือไม่สามารถเล่น Internet ได้ ก็อาจจะต้องมาดูวา Driver

นั้นๆติดตั้งแล้วหรือไม่หลังจากที่ลง Windows ซึ่งมีขั้นตอนเบื้องต้นดังนี้

 คลิกขวาที่ My computer และเลือก Manage

 หน้าต่าง Computer Management ให้เราคลิกเลือก Device Manager ครับ แล้วจะพบกับ

รายชื่ออุปกรณ์ในเครื่อง

83

ภาพที่ 5.1 ภาพการเข้าค าสั่ง Manage

ภาพที่ 5.2 ภาพหน้าต่าง Device Manager

 ส าหรับ คอมประกอบ ให้ไปยัง Website ของ เมนบอร์ดที่เราใช้ โดยเอารุ่นเมนบอร์ดของเราเป็น

ตัวตั้งต้น อาทิเช่น Mainboard ASUS ก็ให้เข้า Website ของ ASUS แล้วท าการดาวน์โหลดให้

ตรงรุ่น

84

 การดาวน์โหลด Driver ต่างๆทั้งของ Notebook / PC ประกอบก็ให้ท าการเลือก อุปกรณ์ที่เราใช้

ให้ตรงกับ Windows ของด้วย อาทิเชน เราใช Windows 8.1 64 bit ในการดาวน์โหลดต่างๆ

ของ Driver เราก็จะต้องโหลดให้ตรงรุ่นของ Windows

กรณีหา Driver ไม่ได้

 ให้ท าการคลิกขวาที่อุปกรณ์ของเราที่ขึ้นสีเหลืองตกใจด้านหน้า > เลือก Properties > Details

> จากนั้นเลือก Property : Hardware IDs

 ท าการ Copy Value ต่างๆไป Search ดูใน Google

ภาพที่ 5.3 ภาพ Hardware IDs

สาเหตุที่เราต้องติดตั้งไดรเวอร์กราฟิกการ์ดเป็นอันดับแรก เนื่องจากมันจะชวยในการแสดงผลบน

หน้าจอเป็นปกติ ซึ่งจะท าให้เราสามารถสั่งงานในส่วนอื่นๆต่อไปได้อย่างถกต้อง ถาเราไม่ได้ติดตั้งไดรเวอร์

กราฟิกการ์ดก่อนบางครั้งการแสดงผลจะมีความละเอียดไม่พอจะแสดงข้อมูลในหน้าต่างทั้งหมด หรือแสดงสีได้

ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้มันยังได้ไดรเวอร์ GART ที่ไดรเวอร์เมนบอร์ดจ าเป็นต้องใช้อีกด้วย

ส่วนต่อมาก็คือเรื่องของเมนบอร์ดซึ่งเป็นศูนย์รวมของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จ าเป็นต้องติดตั้งโดยเฉพาะเรื่อง

ิ้

ของระบบบัสต่างๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งถาเราไม่ติดตั้งเสียก่อนบางครั้งก็จะหาอุปกรณบางชนอย่างเชน

การ์ดเสียง ไม่เจอก็มี ไดรเวอร์อุปกรณ์ที่เหลือสามารถที่จะสลับล าดับการติดตั้งได้เพราะไม่คอยมีความส าคญ

มากนัก แต่ถ้าดูจากล าดับความส าคัญก็คือตดตั้งไดรเวอร์การ์ดเสียงและเครือขายก่อน แล้วคอยไปติดตั้งไดร

เวอร์อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ อย่างเครื่องปริ้นเตอร์ กล้องเว็บแคม บลูทูธ ฯลฯ

85

ภาพที่ 5.3 ภาพการท างานร่วมกันของอุปกรณ ์

ไดรเวอร์บางตัวจ าเป็นต้องมีการติดตั้งซอฟแวร์เพิ่มเติมก่อน อย่างเชนไดรเวอร์ของกราฟิกการ์ดจาก

ATI ที่ใชไดรเวอร์ Catalyst ที่มีส่วนของ Control Center ติดตั้งมาพร้อมกันด้วยจะมีการเรียกใชงาน

.NET Framework ดังนั้นคุณจ าเป็นต้องติดตั้ง .NET Framework เสียก่อนที่จะติดตั้งไดร์ฟเวอร์ แต่ส าหรับ

ผู้ที่ใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ Vista นั้นจะมี .NET Framework มาให้อยู่แล้ว จึงสามารถติดตั้งไดรเวอร์ได้

ทันที ดั้งนั้นควรจะต้องตรวจสอบให้ด้วยว่าไดรเวอร์ที่คุณจะติดตั้งต้องการซอฟแวร์อะไรในการท างานหรือไม่

รูปแบบการติดตั้งไดรเวอร์ในคอมพิวเตอร์

หลังจากที่เราได้ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะพบว่าอุปกรณ์บางอย่างจะ

ยังไม่สามารถท างานอย่างเต็มประสิทธิภาพเช่น หน้าจอที่ไม่สามารถปรับความละเอียดให้สูงสุดที่จอรับได้, ไม่มี

เสียง, ไม่สามารถเข้าใช้งานอินเตอร์เน็ตได้ หรือสั่งพิมพ์งานไม่ได้ เป็นต้น การติดตั้งไดร์ฟเวอร์จะมีวธการติด

ตั้งอยู่ด้วยกัน 4 วิธีได้แก่

1. การติดตั้งด้วยแผ่นไดร์ฟเวอร์ที่มีแถมมากับอุปกรณฮาร์ดแวร์แต่ละชนเชน จากแผ่นไดร์ฟเวอร์

ิ้

การ์ดจอ, เมนบอร์ด, การ์ดเสียง, การ์ดแลน (ส าหรับเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆจะมีอุปกรณ์ออนบอร์ดเช่น ไดร์ฟเวอร์

เมนบอร์ด (Chipset), การ์ดเสียง, การ์ดแลน รวมมาให้กับแผ่นไดร์ฟเวอร์แผ่นเดียวเลย)

ภาพที่ 5.4 ภาพแผ่น Driver

86

2. การติดตั้งจากไฟล์ติดตั้งที่ดาวน์โหลดมาจากเวบไซต์ผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งจะมีการอัพเดทเวอร์ของ

ไดร์ฟเวอร์ เช่น เว็บไซต์ ฯลฯ

ภาพที่ 5.5 ภาพไฟล์ติดตั้งไดร์ฟเวอร์

3. การติดตั้งไดร์ฟเวอร์ผ่านหน้าต่าง Device Manager เพื่อเรียกหาไฟล์ไดร์ฟเวอร์จากแผ่น

ไดร์ฟเวอร์ที่มีแถมมากับอุปกรณ์แต่ละชิ้น หรือจากการที่เราได้ท าการแบ็คอัพไดร์ฟเวอร์เก็บไว ้

ภาพที่ 5.6 ภาพหาไฟล์ไดร์ฟเวอร์จากแผ่น

87

4. วธอัพเดตไดร์ฟเวอร์ (ต้องเชอมต่ออินเตอร์เน็ต) เนื่องจาก Windows 10 เป็นวนโดวส์ที่ฉลาด

ื่

มักจะรู้จักอุปกรณ์ต่างๆ ได้ โดยที่เราไม่ต้องติดตั้งไดรเวอร์เอง แต่ก็เป็นแต่พียงไดรเวอร์ที่อยู่ในฐานขอมูลของ

Windows 10 เท่านั้น วิธีที่ดี เราต้องอัพเดตไดรเวอร์ให้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุด เพื่อให้อุปกรณ์ท างานได้อย่างเต็ม

ประสิทธิภาพ

1. อยู่ที่หน้าจอ Device Manager

2. คลิกเลือกอุปกรณที่ต้องการอัพเดตไดรเวอร์ ตามตัวอย่าง เลือกอุปกรณ์ที่มีเครื่องหมายตกใจใน

หัวข้อ Network adapters

3. คลิกขวาที่ “อุปกรณ์ดังกล่าว” แล้วเลือก Update driver

4. เลือก Search automatically for updated driver software วินโดวส์จะค้นหาไดรเวอร์ที่

ถูกต้องในอินเตอร์เน็ตแล้วดาวน์โหลดมาติดตั้งให้อัตโนมัติ

5. เมื่อติดตั้งเสร็จ ให้คลิก close

6. สถานะเครื่องหมายตกใจหายไป แล้วขึ้นเป็นชื่ออุปกรณ์ที่ถูกต้อง

ภาพที่ 5.7 ภาพอัพเดตไดร์ฟเวอร์เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

Write a Comment